การต่อตัว C แบบคับปลิ้ง ( Coupling )
ถ้าตัว C ต่อแบบคับปลิ้ง การ ต่อลักษณะนี้ส่วนมากจะอยู่ในภาคสัญญาณ (การต่อแบบ คับปลิ้ง Coupling) การต่อแบบนี้จะไม่มีขั้วบวก ขั้วลบ (ตัวC แบบไม่มีขั้ว)ถ้าต่อแบบนี้คือการต่อ
เพื่อส่งผ่านสัญญาน แต่ไฟ DC จะผ่านไม่ได้นะครับ (ต่างกับการต่อแบบฟิลเตอร์) สังเกตุง่ายๆ ครับ ถ้าการต่อแบบฟิลเตอร์ จะเป็นการต่อในลักษณะกรองกระแสไฟ ทำให้ไฟเดินเรียบขึ้น
ส่วน มากจะเกี่ยวข้องกับระบบไฟต่างๆ ภายในวงจรโทรศัพท์ แต่ถ้าต่อแบบ คับปลิ้ง จะเป็นการต่อเพื่อการถ่ายทอดสัญญาน หรือเชื่อมวงจรให้เข้าหากัน แต่ไฟ DC ผ่านไม่ได้นะครับ
ส่วนมากอยู่ในภาคสัญญาน และที่เกี่ยวกับ ลำโพง ไมล์ เป็นต้น ดูรูปภาพประกอบนะครับ
บทสรุปของการต่อ C แบบต่างๆ ( จำให้แม่นนะครับ ไม่ยากครับ )
การต่อตัว C แบบฟิลเตอร์ การต่อลักษณะนี้ ตัว C ด้านหนึ่งจะลงกราวเสมอ สามารถยกออกได้ (แต่ไม่สมควรยกออก) ต่อเพื่อกรองแรงดันและกระแสไฟให้เดินเรียบขึ้น จำแค่นี้ก็พอแล้วครับ
การต่อตัว C แบบคับปลิ้ง การ ต่อลักษณะนี้ ตัว C จะไม่มีด้านใดลงกราว ไม่สามารถยกออกได้ ต่อเพื่อส่งผ่านสัญญาณและกรองสัญญาณไม่ให้ไฟผ่าน จำแค่นี้ก็พอแล้วครับ
ถ้าตัว C ต่อแบบคับปลิ้ง การ ต่อลักษณะนี้ส่วนมากจะอยู่ในภาคสัญญาณ (การต่อแบบ คับปลิ้ง Coupling) การต่อแบบนี้จะไม่มีขั้วบวก ขั้วลบ (ตัวC แบบไม่มีขั้ว)ถ้าต่อแบบนี้คือการต่อ
เพื่อส่งผ่านสัญญาน แต่ไฟ DC จะผ่านไม่ได้นะครับ (ต่างกับการต่อแบบฟิลเตอร์) สังเกตุง่ายๆ ครับ ถ้าการต่อแบบฟิลเตอร์ จะเป็นการต่อในลักษณะกรองกระแสไฟ ทำให้ไฟเดินเรียบขึ้น
ส่วน มากจะเกี่ยวข้องกับระบบไฟต่างๆ ภายในวงจรโทรศัพท์ แต่ถ้าต่อแบบ คับปลิ้ง จะเป็นการต่อเพื่อการถ่ายทอดสัญญาน หรือเชื่อมวงจรให้เข้าหากัน แต่ไฟ DC ผ่านไม่ได้นะครับ
ส่วนมากอยู่ในภาคสัญญาน และที่เกี่ยวกับ ลำโพง ไมล์ เป็นต้น ดูรูปภาพประกอบนะครับ
บทสรุปของการต่อ C แบบต่างๆ ( จำให้แม่นนะครับ ไม่ยากครับ )
การต่อตัว C แบบฟิลเตอร์ การต่อลักษณะนี้ ตัว C ด้านหนึ่งจะลงกราวเสมอ สามารถยกออกได้ (แต่ไม่สมควรยกออก) ต่อเพื่อกรองแรงดันและกระแสไฟให้เดินเรียบขึ้น จำแค่นี้ก็พอแล้วครับ
การต่อตัว C แบบคับปลิ้ง การ ต่อลักษณะนี้ ตัว C จะไม่มีด้านใดลงกราว ไม่สามารถยกออกได้ ต่อเพื่อส่งผ่านสัญญาณและกรองสัญญาณไม่ให้ไฟผ่าน จำแค่นี้ก็พอแล้วครับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น